วันเสาร์ ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2568
แนวหน้า
  • แนวหน้า
  • หน้าแรก
  • คอลัมน์
    • คอลัมน์วันนี้
    • คอลัมน์ออนไลน์
    • คอลัมน์การเมือง
    • คอลัมน์ลงมือสู้โกง
    • โลกธุรกิจ
    • ผู้หญิง
    • บันเทิง
    • Like สาระ
    • ดูทั้งหมด
  • ข่าวเด่น
  • พระราชสำนัก
  • การเมือง
  • โลกธุรกิจ
  • อาชญากรรม
  • กทม.
  • ในประเทศ
  • เกษตร
  • ต่างประเทศ
  • กีฬา
  • ผู้หญิง
  • บันเทิง
  • ยานยนต์
  • Like สาระ
หน้าแรก / ข่าว Like สาระ
ประวัติความเป็นมา ประเพณีตักบาตรข้าวรวม หรือพระทิ้งบาตร

ประวัติความเป็นมา ประเพณีตักบาตรข้าวรวม หรือพระทิ้งบาตร

วันอังคาร ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2567, 09.27 น.
Tag : ประเพณีตักบาตรข้าวรวม พระทิ้งบาตร
  •  

ชาวไทยเชื่อสายมอญละโว้ จังหวัดลพบุรี สืบสานประเพณี"ตักบาตาข้าวรวม หรือประเพณีพระทิ้งบาตร

23 กรกฎาคม 2567 พระวัดอัมพวัน ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ซึ่งถือเป็นชุมชนชาวมอญเมืองละโว้ที่ใหญ่ที่สุด ได้จัดกิจกรรมสืบสานประเพณีพระทิ้งบาตร หรือที่ชาวบ้านเรียกว่าประเพณีตักบาตรข้าวรวม ซึ่งชาวบ้านจะนำข้าวใส่รวมกับกลับข้าว ใส่บาตรพระรวมกัน ซึ่งถือเป็นธุดงคบาตร คล้ายการออกบำเพ็ญธุดงค์ของสงฆ์อย่างหนึ่ง


โดยพระจะต้องตั้งจิตอธิษฐานมั่นคงว่าจะถือปฏิบัติเคร่งครัดในการที่จะฉันภัตตาหารเฉพาะในบาตรของตนเพียงใบเดียวและมื้อเดียวในหนึ่งวันเท่านั้น เป็นการนำอาหารทุกชนิดที่จะบริโภคในมื้อนั้นวันนั้น ทั้งข้าวสุก อาหารหวาน-คาว หรือรวมทั้งผลไม้ ใส่รวมกันลงในบาตร เป็นการฝึกไม่ให้พระสงฆ์ติดในรสชาติ


 
ซึ่งในอดีตพระสงฆ์จะนำบาตรเปล่าไปส่งให้ญาติโยมบ้านใดบ้านหนึ่งแล้วกลับวัดในทันที เรียกกว่า ทิ้งบาตร จากนั้นญาติโยมก็จะนำอาหารใส่รวมกันทั้งหมดลงในบาตร แล้วนำมาส่งให้พระสงฆ์ที่วัด ทั้งนี้ เมื่อใดก็ตามที่พระสงฆ์ไปฉันภัตตาหารในภาชนะอื่น นอกเหนือจากบาตรดังกล่าว จะถือว่าการธุดงค์บาตรนั้นสิ้นสุดโดยปริยาย โดยประเพณีดังกบ่าวจะจัดขึ้นหลังวันเข้าพรรษา1วัน และจะทำติดต่อกันเป็นเวลา 7วัน หลังจากใส่บาตรพระแล้วชาวบ้านก็จะมีการแลกเปลี่ยนข้าวรวมใส่บาตรเพื่อแลกเปลี่ยนกันกินสร้างความสามัคคีขึ้นในชุมชนอีกด้วย


 
 ซึ่งพระปัญญาวุฒิ วุฒิ โกผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน เล่าว่าประเพณีนี้ชาวมอญได้สืบสานประเพณีนี้มายาวนานนับ100ปี จะทำกันหลังวันเข้าพรรษา1วัน จากอดีตจะเรียกพระทิ้งบาตร โดยพระจะนำบาตรไปไว้บ้านโยม เช้าโยมจะนำบาตรมาคืนพระ แต่ยุคสมัยเปลี่ยนจากการทิ้งบาตร มาเป็นการรับบาตรแทน อย่างไรก็ตาม การฉันภัตตาหารในบาตรตามวัตรปฏิบัตินั้น พระสงฆ์แต่ละรูปจะกำหนดระยะเวลาไม่เท่ากัน พระบวชใหม่อาจจะกำหนดเพียง 3 วัน 7 วัน

เงื่อนไขการแสดงความคิดเห็น ซ่อน

โปรดอ่านก่อนแสดงความคิดเห็น

1.กรุณาใช้ถ้อยคำที่ สุภาพ เหมาะสม ไม่ใช้ ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่น สร้างความแตกแยกในสังคม งดการใช้ถ้อยคำที่ดูหมิ่นหรือยุยงให้เกลียดชังสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2.หากพบข้อความที่ไม่เหมาะสม สามารถแจ้งได้ที่อีเมล์ online@naewna.com โดยทีมงานและผู้จัดทำเว็บไซด์ www.naewna.com ขอสงวนสิทธิ์ในการลบความคิดเห็นที่พิจารณาแล้วว่าไม่เหมาะสม โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ทุกกรณี

3.ขอบเขตความรับผิดชอบของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ อยู่ที่เนื้อหาข่าวสารที่นำเสนอเท่านั้น หากมีข้อความหรือความคิดเห็นใดที่ขัดต่อข้อ 1 ถือว่าเป็นกระทำนอกเหนือเจตนาของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ และไม่เป็นเหตุอันต้องรับผิดทางกฎหมายในทุกกรณี

  •  

Breaking News

'นาโปลี'แชมป์กัลโช่!'คอนเต้'ทำสถิติกุนซือโหด-'แม็คทอม'คว้าแข้งแห่งปี

รัฐบาลโชว์ผลงาน 6 เดือน แก้หนี้นอกระบบ ช่วยลูกหนี้กว่า 7.7 หมื่นราย วงเงิน 2.4 พันล้านบาท

เปิดโปรแกรม'นายกฯอิ๊งค์' เตรียมร่วมประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน ครั้งที่ 46

ยิปซีพยากรณ์'ดวงรายวัน'ประจำวันเสาร์ที่ 24 พฤษภาคม 2568

Back to Top

ผู้ดูแลเว็บไซต์ www.naewna.com
webmaster นางสาวอัญชะลี ไพรีรัก
ดูแลรับผิดชอบข่าว/ภาพ/โฆษณา/ข้อมูลอื่นที่เกียวข้องกับเว็บไซต์
กรรมการบริษัทฯ, กรรมการผู้มีอำนาจ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำเสนอข่าว/ภาพ/ข้อมูลใดๆในเว็บไซต์ทั้งสิ้น

Social Media

  • หน้าแรก |
  • เกี่ยวกับแนวหน้า |
  • โฆษณากับเรา |
  • ร่วมงานกับเรา |
  • ติดต่อแนวหน้า |
  • นโยบายข้อตกลง
Copyright © 2017 Naewna.com All right reserved