วันพุธ ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2568
แนวหน้า
  • แนวหน้า
  • หน้าแรก
  • คอลัมน์
    • คอลัมน์วันนี้
    • คอลัมน์ออนไลน์
    • คอลัมน์การเมือง
    • คอลัมน์ลงมือสู้โกง
    • โลกธุรกิจ
    • ผู้หญิง
    • บันเทิง
    • Like สาระ
    • ดูทั้งหมด
  • ข่าวเด่น
  • พระราชสำนัก
  • การเมือง
  • โลกธุรกิจ
  • อาชญากรรม
  • กทม.
  • ในประเทศ
  • เกษตร
  • ต่างประเทศ
  • กีฬา
  • ผู้หญิง
  • บันเทิง
  • ยานยนต์
  • Like สาระ
หน้าแรก / ในประเทศ
มจธ.พัฒนาแบคทีเรีย เร่งย่อยโปรตีนเคราตินในขนไก่  ลดขยะ ต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ด้านอาหารและยามูลค่าสูง

มจธ.พัฒนาแบคทีเรีย เร่งย่อยโปรตีนเคราตินในขนไก่ ลดขยะ ต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ด้านอาหารและยามูลค่าสูง

วันอังคาร ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2564, 06.00 น.
Tag : โปรตีนเคราตินในขนไก่ มจธ.
  •  

ผศ.ดร.นุจริน จงรุจา อาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) กล่าวว่า “ขยะขนไก่” ที่ถึงแม้ว่าจะมีประกอบด้วยโปรตีนประมาณ 85% ซึ่งเป็นโปรตีนประเภทเคราติน (Keratin)ที่โครงสร้างแข็งแรงมากและยังใช้ประโยชน์ไม่ได้ ต้องใช้ “เอนไซม์เคราติเนส”(Keratinase) มาย่อยโครงสร้างโปรตีนนี้เสียก่อน และหากสกัดออกมาได้จะสามารถนำไปสร้างมูลค่าได้มหาศาล ตั้งแต่ผสมในอาหารสัตว์ ไปจนถึงผลิตภัณฑ์ด้านอาหารและยาที่มีมูลค่าสูง แต่ปัญหาคือเป็นขบวนการที่ซับซ้อน และมีต้นทุนพลังงานและอุปกรณ์ที่ค่อนข้างสูง นั่นจึงเป็นที่มาของโครงการวิจัย “ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพเคราติเนสทนร้อนที่ได้จากดีเอ็นเอลูกผสม” และก็ได้ แบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพสูงในการผลิตเอนไซม์เคราติเนส ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียสในที่สุด


ปัจจุบันผลงานนี้ได้การจดสิทธิบัตรการค้นพบเรียบร้อยแล้ว และทางผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเลี้ยงไก่เนื้อรายใหญ่ที่เข้าร่วมในโครงการนี้ตั้งแต่ต้น ก็มีการนำกรดอะมิโนที่ได้ไปศึกษาต่อ และพบว่ามีกลุ่มสารอะมิโนที่อาจสามารถทำเป็นสารตั้งต้นของผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงได้ และ ผศ.ดร.นุจรินและทีมวิจัย ยังมองเห็นว่า อุตสาหกรรมเลี้ยงไก่ขนาดเล็กหรือกลุ่มผู้เลี้ยงไก่รายย่อย หรือระดับ SMEs รวมถึงโรงเชือดไก่ ที่กระจายกันอยู่ทั่วประเทศซึ่งส่วนใหญ่ใช้การฝังกลบหรือการเผาขนไก่ แทนการสั่งซื้อผลิตภัณฑ์สารกำจัดขนไก่จาก ตปท. ซึ่งราคาแพงหากนำเทคนิคการกำจัดขนไก่ด้วยแบคทีเรียของ มจธ. ไปใช้ นอกจากจะช่วยลดปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นจากการฝังกลบหรือเผาขนไก่ที่เป็นปัญหากับชุมชนรอบข้างในหลายพื้นที่แล้ว ยังสามารถนำสารที่สกัดได้ซึ่งมีโปรตีนกลุ่มที่มีประโยชน์ไปต่อยอดทำประโยชน์และใช้งานอื่นๆ ได้อีกด้วย

เงื่อนไขการแสดงความคิดเห็น ซ่อน

โปรดอ่านก่อนแสดงความคิดเห็น

1.กรุณาใช้ถ้อยคำที่ สุภาพ เหมาะสม ไม่ใช้ ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่น สร้างความแตกแยกในสังคม งดการใช้ถ้อยคำที่ดูหมิ่นหรือยุยงให้เกลียดชังสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2.หากพบข้อความที่ไม่เหมาะสม สามารถแจ้งได้ที่อีเมล์ online@naewna.com โดยทีมงานและผู้จัดทำเว็บไซด์ www.naewna.com ขอสงวนสิทธิ์ในการลบความคิดเห็นที่พิจารณาแล้วว่าไม่เหมาะสม โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ทุกกรณี

3.ขอบเขตความรับผิดชอบของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ อยู่ที่เนื้อหาข่าวสารที่นำเสนอเท่านั้น หากมีข้อความหรือความคิดเห็นใดที่ขัดต่อข้อ 1 ถือว่าเป็นกระทำนอกเหนือเจตนาของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ และไม่เป็นเหตุอันต้องรับผิดทางกฎหมายในทุกกรณี

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

  • ‘สอวช.’จับมือ‘มจธ.’เปิดหลักสูตร STIP รุ่น 7 ปั้นนักออกแบบนโยบายรับมือการเปลี่ยนแปลง ‘สอวช.’จับมือ‘มจธ.’เปิดหลักสูตร STIP รุ่น 7 ปั้นนักออกแบบนโยบายรับมือการเปลี่ยนแปลง
  •  

Breaking News

มั่นใจไร้สะดุด! ‘JAS-AIS’ย้ำเน็ตแรงยิงสดบอลผู้ดี

บันไดมาพาดแล้ว! ‘หมอเปรม’แนะ‘อิ๊งค์’ลาออก เปิดทางสภาฯเลือก‘นายกฯคนใหม่’

เจ้าของใจสลาย! แมวถูกหมารุมกัดตาย ซ้ำลุงเก็บขยะชาวกัมพูชา นำซากไปปิ้งหวังประกอบอาหาร

รวมตัวสายบู๊! ช่อง7ยิงสดสามมวยดังสุดสัปดาห์นี้

Back to Top

ผู้ดูแลเว็บไซต์ www.naewna.com
webmaster นายปรเมษฐ์ ภู่โต
ดูแลรับผิดชอบข่าว/ภาพ/โฆษณา/ข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์
กรรมการบริษัทฯ, กรรมการผู้มีอำนาจ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำเสนอข่าว/ภาพ/ข้อมูลใดๆในเว็บไซต์ทั้งสิ้น

Social Media

  • หน้าแรก |
  • เกี่ยวกับแนวหน้า |
  • โฆษณากับเรา |
  • ร่วมงานกับเรา |
  • ติดต่อแนวหน้า |
  • นโยบายข้อตกลง
Copyright © 2025 Naewna.com All right reserved