วันอังคาร ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2568
แนวหน้า
  • แนวหน้า
  • หน้าแรก
  • คอลัมน์
    • คอลัมน์วันนี้
    • คอลัมน์ออนไลน์
    • คอลัมน์การเมือง
    • คอลัมน์ลงมือสู้โกง
    • โลกธุรกิจ
    • ผู้หญิง
    • บันเทิง
    • Like สาระ
    • ดูทั้งหมด
  • ข่าวเด่น
  • พระราชสำนัก
  • การเมือง
  • โลกธุรกิจ
  • อาชญากรรม
  • กทม.
  • ในประเทศ
  • เกษตร
  • ต่างประเทศ
  • กีฬา
  • ผู้หญิง
  • บันเทิง
  • ยานยนต์
  • Like สาระ
หน้าแรก / กีฬา
วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : แมลง... ร้องเพลงได้นะ

วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : แมลง... ร้องเพลงได้นะ

วันอาทิตย์ ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2566, 06.00 น.
Tag : วิทยาศาสตร์สำหรับเยาวชน ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้รอบตัว
  •  

หลายๆ ท่าน อาจจะเคยได้ยินเสียงของจิ้งหรีดในเวลากลางคืน หรือเสียงจักจั่นในวันที่มีอากาศร้อน ซึ่งในข้อเท็จจริงแล้วยังมีแมลงอีกหลายชนิดที่สามารถสร้างเสียงเพื่อใช้ในการสื่อสารระหว่างแมลงชนิดเดียวกันได้โดยแมลงแต่ละชนิดอาจใช้วิธีการสร้างเสียงที่แตกต่างกันออกไป แบ่งออกเป็น 5 วิธีการ ได้แก่

1. การใช้ส่วนของร่างกายถูกันจนเกิดเสียง เช่น การสีปีกซ้ายและปีกขวาของจิ้งหรีดตัวผู้เพื่อจีบจิ้งหรีดตัวเมีย


2. การใช้ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เคาะลงบนวัตถุรอบข้างเพื่อให้เกิดเสียง เช่น ปลวกทหารใช้ส่วนหัวเคาะลงบนพื้นเพื่อข่มขู่ผู้บุกรุก การใช้ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เคาะลงบนวัตถุรอบข้างเพื่อให้เกิดเสียง เช่น ปลวกทหาร

3. การสั่นที่เกิดจากการกระพือแผ่นเนื้อปีกใสผ่านอากาศ เช่น ยุงบินผ่านหู

4. การสั่นของแผ่นเนื้อเยื่อบาง (Tymbals) เช่น การสั่นเนื้อเยื่อบางของจักจั่น

5. การบังคับอากาศหรือของเหลวภายในร่างกายจนทำให้เกิดเสียง เช่น เสียงที่เกิดจากการตบขาคู่หลังของตั๊กแตนกิ่งไม้ขาหนามมลายู

จะเห็นว่าแมลงแต่ละชนิดมีเครื่องดนตรีเฉพาะเป็นของตนเอง ในการรังสรรคคีย์โน้ต เมโลดี้ เรียบเรียงออกมาเป็นท่วงทำนองบทเพลงที่ฟังแล้วทำให้รู้สึกผ่อนคลาย เพราะธรรมชาติสร้างสรรค์ให้โลกของเราน่าอยู่ยิ่งๆ ขึ้น

สถานีวิจัยลำตะคอง

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

 

เงื่อนไขการแสดงความคิดเห็น ซ่อน

โปรดอ่านก่อนแสดงความคิดเห็น

1.กรุณาใช้ถ้อยคำที่ สุภาพ เหมาะสม ไม่ใช้ ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่น สร้างความแตกแยกในสังคม งดการใช้ถ้อยคำที่ดูหมิ่นหรือยุยงให้เกลียดชังสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2.หากพบข้อความที่ไม่เหมาะสม สามารถแจ้งได้ที่อีเมล์ online@naewna.com โดยทีมงานและผู้จัดทำเว็บไซด์ www.naewna.com ขอสงวนสิทธิ์ในการลบความคิดเห็นที่พิจารณาแล้วว่าไม่เหมาะสม โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ทุกกรณี

3.ขอบเขตความรับผิดชอบของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ อยู่ที่เนื้อหาข่าวสารที่นำเสนอเท่านั้น หากมีข้อความหรือความคิดเห็นใดที่ขัดต่อข้อ 1 ถือว่าเป็นกระทำนอกเหนือเจตนาของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ และไม่เป็นเหตุอันต้องรับผิดทางกฎหมายในทุกกรณี

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

  • วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : เคล็ดลับความสวยจาก..ชาเขียว วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : เคล็ดลับความสวยจาก..ชาเขียว
  • วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : การเพิ่มมูลค่า‘หน่อไม้ฝรั่ง’พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพไฟเบอร์สูง วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : การเพิ่มมูลค่า‘หน่อไม้ฝรั่ง’พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพไฟเบอร์สูง
  • วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : แผลที่เกิดขึ้นต้องใช้เวลากี่วันถึงจะหายดี วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : แผลที่เกิดขึ้นต้องใช้เวลากี่วันถึงจะหายดี
  • วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : ฮอร์โมนและสารรบกวน (2) วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : ฮอร์โมนและสารรบกวน (2)
  • วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : ฮอร์โมนและสารรบกวน (1) วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : ฮอร์โมนและสารรบกวน (1)
  • วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : การใช้สาหร่ายขนาดเล็กดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (2) วิทยาศาสตร์ สำหรับเยาวชน : การใช้สาหร่ายขนาดเล็กดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (2)
  •  

Breaking News

ฮามาสปล่อยตัวประกัน‘สหรัฐฯ’คนสุดท้ายแล้ว แต่อิสราเอลยังเดินหน้าถล่มกาซาต่อไป

อากาศแปรปรวน! เครื่องบินโดยสารลงจอด'อู่ตะเภา' 8 ลำ

‘สหรัฐฯ-จีน’ลดภาษี115%พักรบ90วันดีต่อศก.โลก ห่วงเสถียรภาพการเมืองทำไทยเสียเปรียบเจรจา

'วิโรจน์'ลุยชายแดนสังขละบุรี ถกปัญหา'ที่ดิน'ระหว่าง'กองทัพบก-ปชช.'

Back to Top

ผู้ดูแลเว็บไซต์ www.naewna.com
webmaster นางสาวอัญชะลี ไพรีรัก
ดูแลรับผิดชอบข่าว/ภาพ/โฆษณา/ข้อมูลอื่นที่เกียวข้องกับเว็บไซต์
กรรมการบริษัทฯ, กรรมการผู้มีอำนาจ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำเสนอข่าว/ภาพ/ข้อมูลใดๆในเว็บไซต์ทั้งสิ้น

Social Media

  • หน้าแรก |
  • เกี่ยวกับแนวหน้า |
  • โฆษณากับเรา |
  • ร่วมงานกับเรา |
  • ติดต่อแนวหน้า |
  • นโยบายข้อตกลง
Copyright © 2017 Naewna.com All right reserved