วันอังคาร ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2568
แนวหน้า
  • แนวหน้า
  • หน้าแรก
  • คอลัมน์
    • คอลัมน์วันนี้
    • คอลัมน์ออนไลน์
    • คอลัมน์การเมือง
    • คอลัมน์ลงมือสู้โกง
    • โลกธุรกิจ
    • ผู้หญิง
    • บันเทิง
    • Like สาระ
    • ดูทั้งหมด
  • ข่าวเด่น
  • พระราชสำนัก
  • การเมือง
  • โลกธุรกิจ
  • อาชญากรรม
  • กทม.
  • ในประเทศ
  • เกษตร
  • ต่างประเทศ
  • กีฬา
  • ผู้หญิง
  • บันเทิง
  • ยานยนต์
  • Like สาระ
หน้าแรก / คอลัมน์ / คอลัมน์ออนไลน์ / ซอกซอนตะลอนไป
ซอกซอนตะลอนไป

ซอกซอนตะลอนไป

โดย...เสรษฐวิทย์ ชีรวินิจ
วันอาทิตย์ ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566, 02.00 น.
พระอาทิตย์ตกของตระกูลคานธี (ตอน1)

ดูทั้งหมด

  •  

ในปีค.ศ. 2019  อินเดียมีการเลือกตั้งทั่วไปเพื่อตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์(LOK SABHA)จากทั่วประเทศ ซึ่งมีจำนวน 543 คน

เป็นการต่อสู้กันของ 2 พรรคการเมืองใหญ่สองพรรคของอินเดีย พรรคแรกก็คือพรรคภารติยะ ชนะตะ(BJP) นำโดยนายนเรนทรา โมดี(NARENTRA MODI)  ซึ่งชนะเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในการเลือกตั้งครั้งก่อนของปีค.ศ. 2014 กับพรรคอินเดียน เนชั่นนัล คองเกรส(INC) ที่นำโดย นางโซเนีย คานธี


(นางโซเนีย คานธี พบปะกับ ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิยยู บุช  - ภาพจากวิกิพีเดีย)

การเลือกตั้งครั้งปีค.ศ. 2014   เป็นชัยชนะของพรรค BJP  ที่สามารถกวาดที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรได้มากถึง 282 คน จากจำนวนที่นั่งทั้งหมด 534 ที่นั่ง   ในขณะที่ พรรคคองเกรสได้รับเลือกเข้ามาเพียง 59 ที่นั่งเท่านั้น

ทั้งๆที่  นับตั้งแต่การเลือกตั้งครั้งแรกของอินเดียในปีค.ศ. 1951-1952  พรรคคองเกรส ครองเสียส่วนใหญ่ของสภามาแทบจะตลอด

หลังจากความพ่ายแพ้ในปี 2014   นางโซเนีย คานธีก็วางมือให้ ราหุล ลูกชายขึ้นมาสู่ตำแหน่งหัวหน้าพรรคคองเกรสแทน  โดยมีภาระในการเป็นหัวหอกในการต่อสู้ทางการเมืองในการเลือกตั้งทั่วไปของปี 2019 ซึ่งเป็นภาระอันยิ่งใหญ่ของพรรค

(นายเนห์รู , อินทิรา คานธี , ซานเจย์ และ  ราจีฟ คานธี ครอบนักการเมืองที่ครอบครองพรรคคองเกรสมายาวนาน-ภาพจากวิกิพีเดีย)

นายราหุล คานธี เป็นเลือดเนื้อเชื้อไขนักการเมืองจากตระกูลคานธี  เขาเป็นลูกของ ราจีฟ  คานธี กับ โซเนีย ซึ่งมีเชื้อสายอิตาเลี่ยน  ,  ราจีฟ คานธี เป็นลูกของนางอินทิรา คานธี   ราจีฟจึงมีศักดิ์เป็นหลานตาของนาย เยาวะหะราล เนห์รู นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย

การเลือกตั้งของปี 2019 เป็นภาระขนาดใหญ่ที่ถูกโยนลงบนบ่าของราหุลเพราะคะแนนนิยมของ นเรนทรา โมดี กำลังพุ่งแรง  ด้วยเพราะนโยบายเชิดชูแนวคิดชาวฮินดูของเขา  ซึ่งแตกต่างจากนโยบายของพรรคคองเกรส  ที่สนับสนุนชาวมุสลิมเป็นหลัก

(เนห์รู และ มหาตะมะ คานธี ที่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในปัจจุบันว่า เอาใจชาวมุสลิมมากกว่าชาวฮินดู- ภาพจากวิกิพีเดีย)  

แนวคิดนี้   เริ่มมาแต่สมัยของ นายเยาวะหะราล เนห์รู  และ  มหาตะมะ คานธี  ในยุคที่ยังเป็นกลุ่ม อินเดียน เนชั่นแนล คองเกรส  ที่ต่อสู้เรียกร้องเอกราชจากอังกฤษก่อนหน้าปีค.ศ. 1947 แล้ว 

การต่อสู้รณรงค์เพื่อการเลือกตั้งทั่วไป  สำหรับคนหนุ่มที่ไม่ยังไม่มีประสบการณ์ และ เขี้ยวเล็บที่แกร่งพออย่างนายราหุลนั้น  เป็นเรื่องไม่ง่าย

(ถนนที่นางอินทิรา คานธีเดินในเช้าวันที่ถูกทหารองค์รักษ์ยิงเสียชีวิต ปัจจุบันถูกปิดด้วยกระจก - ภาพจากวิกิพีเดีย)

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ปีค.ศ. 1984  นางอินทิรา คานธี ย่าของเขา  และ  นายกรัฐมนตรีในเวลานั้นถูกทหารรักษาความปลอดภัยชาวซิกห์ 2 คนสังหาร ว่ากันว่า   เพื่อแก้แค้นในภารกิจของนางที่เรียกว่า ปฎิบัติการณ์ดาวสีน้ำเงิน(OPERATION BLUE STAR) ในการโจมตีวิหารทองคำ ในเมืองอัมริตสาร์ รัฐปัญจาบ 

ราจีฟ คานธี จึงขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อในทันที

หลังจากนั้น  วันที่ 21 พฤษภาคมปีค.ศ. 1991  ในขณะที่นายราจีฟ คานธี กำลังออกหาเสียงช่วยเหลือผู้สมัครของพรรคคองเกรสในรัฐทมิล นาดู  ที่หมู่บ้าน ศรีเพอรุมบูเดอร์ ไม่ไกลจากเมืองมัดดาส(MADRAS) หรือ เชนไน(CHENNAI) ในปัจจุบันเท่าไหร่นัก

เขาถูกระเบิดพลีชีพของผู้หญิงคนหนึ่งที่ทำทีจะเข้ามาทักทาย แล้วกดระเบิด  ทำให้ ราจีฟ คานธี เสียชีวิตในทันที 

วันแห่งการสูญเสียวันนั้น   ราหูล คานธีมีอายุเพียง 21 ปีเท่านั้น ถือว่ายังอ่อนด้อยประสบการณ์ทางการเมืองมาก

เหตุการณ์ของตระกูลคานธีจะเป็นอย่างไร โปรดติดตามอ่านในตอนต่อไป

 

 

เงื่อนไขการแสดงความคิดเห็น ซ่อน

โปรดอ่านก่อนแสดงความคิดเห็น

1.กรุณาใช้ถ้อยคำที่ สุภาพ เหมาะสม ไม่ใช้ ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่น สร้างความแตกแยกในสังคม งดการใช้ถ้อยคำที่ดูหมิ่นหรือยุยงให้เกลียดชังสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2.หากพบข้อความที่ไม่เหมาะสม สามารถแจ้งได้ที่อีเมล์ online@naewna.com โดยทีมงานและผู้จัดทำเว็บไซด์ www.naewna.com ขอสงวนสิทธิ์ในการลบความคิดเห็นที่พิจารณาแล้วว่าไม่เหมาะสม โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ทุกกรณี

3.ขอบเขตความรับผิดชอบของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ อยู่ที่เนื้อหาข่าวสารที่นำเสนอเท่านั้น หากมีข้อความหรือความคิดเห็นใดที่ขัดต่อข้อ 1 ถือว่าเป็นกระทำนอกเหนือเจตนาของทีมงานและผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซด์ และไม่เป็นเหตุอันต้องรับผิดทางกฎหมายในทุกกรณี

  •  
  • Breaking News
  • ข่าวยอดนิยม
  • คอลัมน์ฮิต
15:57 น. สรุปมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ประจำวันที่ 1 กรกฎาคม 2568
15:50 น. (คลิป) 'อิ๊งค์'น้อมรับคำสั่งศาล พร้อมพิสูจน์ปมคลิปเสียง ยันทำเพื่อรักษาอธิปไตย
15:49 น. ‘รอง ผบช.ภ.1’เช็คความคืบหน้าโครงการ‘ตำบลยั่งยืน’สภ.บางแม่นาง
15:39 น. อาลัย! 'เจ้าจิราพันธุ์ ณ เชียงใหม่' ถึงแก่กรรมอย่างสงบ สิริรวมอายุ 100 ปี
15:38 น. ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ตีกลับ‘ประธานสภา’ตรวจสอบลายมือชื่อก๊วนสส.ร้องสอบ‘พิเชษฐ์’ฝ่าฝืนรธน.
ดูทั้งหมด
วอน'ญี่ปุ่น'ช่วยหย่าศึก! 'ฮุน เซน'ขอร้องให้ช่วยพูดกับไทย จี้ให้ศาลโลกช่วยตัดสินปมพื้นที่พิพาท
‘มาครง’เผยคุย‘แพทองธาร’แล้ว ลั่นคนไทยไว้วางใจมิตรภาพจาก‘ฝรั่งเศส’ได้เสมอ
‘หม่อมปนัดดา‘ ปรากฏตัวกลางม็อบ ‘รวมพลังแผ่นดิน’ ของดให้สัมภาษณ์สื่อ
'ลุงเตีย'ลำบากใจ!ร่วม'ฮุนเซน'ตรวจชายแดนท่ามกลางสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาตึงเครียด
แกว่งเท้าหาเสี้ยน! ปรากฏการณ์แฉโพย‘สายส้ม’เข้มข้น-ล่อนจ้อน
ดูทั้งหมด
แวดวงการเงิน : 1 กรกฎาคม 2568
หุ้นเด่น : 1 กรกฎาคม 2568
วิกฤตกัญชาในพายุการเมือง
ขำกันหลังวันม็อบ
กูไม่ออก?
ดูทั้งหมด

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

สรุปมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ประจำวันที่ 1 กรกฎาคม 2568

(คลิป) 'อิ๊งค์'น้อมรับคำสั่งศาล พร้อมพิสูจน์ปมคลิปเสียง ยันทำเพื่อรักษาอธิปไตย

(คลิป) 'อนุทิน' เย้ย! ครม.ใหม่ พท. ปูดแหลกเบื้องหลัง!!

ผลสลากกินแบ่งรัฐบาล งวดประจำวันที่ 1 กรกฎาคม 2568

'ชูศักดิ์'เผย'สุริยะ'ขึ้นรักษาการนายกฯ นำ'แพทองธาร'ถวายสัตย์ปฏิญาณครม.ใหม่

อาลัย! 'เจ้าจิราพันธุ์ ณ เชียงใหม่' ถึงแก่กรรมอย่างสงบ สิริรวมอายุ 100 ปี

  • Breaking News
  • สรุปมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ประจำวันที่ 1 กรกฎาคม 2568 สรุปมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ประจำวันที่ 1 กรกฎาคม 2568
  • (คลิป) \'อิ๊งค์\'น้อมรับคำสั่งศาล พร้อมพิสูจน์ปมคลิปเสียง ยันทำเพื่อรักษาอธิปไตย (คลิป) 'อิ๊งค์'น้อมรับคำสั่งศาล พร้อมพิสูจน์ปมคลิปเสียง ยันทำเพื่อรักษาอธิปไตย
  • ‘รอง ผบช.ภ.1’เช็คความคืบหน้าโครงการ‘ตำบลยั่งยืน’สภ.บางแม่นาง ‘รอง ผบช.ภ.1’เช็คความคืบหน้าโครงการ‘ตำบลยั่งยืน’สภ.บางแม่นาง
  • อาลัย! \'เจ้าจิราพันธุ์ ณ เชียงใหม่\' ถึงแก่กรรมอย่างสงบ สิริรวมอายุ 100 ปี อาลัย! 'เจ้าจิราพันธุ์ ณ เชียงใหม่' ถึงแก่กรรมอย่างสงบ สิริรวมอายุ 100 ปี
  • ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ตีกลับ‘ประธานสภา’ตรวจสอบลายมือชื่อก๊วนสส.ร้องสอบ‘พิเชษฐ์’ฝ่าฝืนรธน. ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ตีกลับ‘ประธานสภา’ตรวจสอบลายมือชื่อก๊วนสส.ร้องสอบ‘พิเชษฐ์’ฝ่าฝืนรธน.
ดูทั้งหมด

คอลัมน์ที่เกี่ยวข้อง

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน46) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน46) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

29 มิ.ย. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน45) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน45) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

22 มิ.ย. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน44) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน44) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

15 มิ.ย. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน43) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน43) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

8 มิ.ย. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน42) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน42) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

1 มิ.ย. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน41) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ (ตอน41) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

25 พ.ค. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน40) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน40) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

11 พ.ค. 2568

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน39)  หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

ยกเลิกมาตรา 370 ภารกิจรัฐบุรุษ(ตอน39) หลังอินเดียประกาศอิสรภาพ

4 พ.ค. 2568

Back to Top

ผู้ดูแลเว็บไซต์ www.naewna.com
webmaster นายปรเมษฐ์ ภู่โต
ดูแลรับผิดชอบข่าว/ภาพ/โฆษณา/ข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์
กรรมการบริษัทฯ, กรรมการผู้มีอำนาจ ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำเสนอข่าว/ภาพ/ข้อมูลใดๆในเว็บไซต์ทั้งสิ้น

Social Media

  • หน้าแรก |
  • เกี่ยวกับแนวหน้า |
  • โฆษณากับเรา |
  • ร่วมงานกับเรา |
  • ติดต่อแนวหน้า |
  • นโยบายข้อตกลง
Copyright © 2025 Naewna.com All right reserved